หนังสือพิมพ์
ดีโพลมานิวส์
ข่าวสายกลางฉบับ
จับข่าวใส่กล่อง
ฉบับวันที่
28.ก.พ.2562
|
ผู้อำนวยการ
เกรียงไกร
(พรเทพ)
ไตรสัมฤทธิ์ผล
บรรณาธิการ
ผู้พิมพ์ |
มีทนายช่วยเหลือคนจนทุกองค์กร
ของเรา
เป็นองค์กรที่ไม่
แสวงหาผลกำไร
0992612588
|
ประวัติของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(น.ส.พ.ดีโพลมาข่าวสายกลางเสนอข่าวเพื่อเป็นวิทยาทานมีความรู้รอบตัวมากมาย) คัดลอกข่าวจากน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ออนไลน์ประจำวันที่31พ.ค.2555
ภูไผ่ สำนักปฎิบัติธรรม ภูไผ่(ที่พักสงฆ์) ซึ่งเป็นสาขาที่134 ของวัดมหาธาตุ จ.เพชรบูรณ์มีใบอนุญาตตัวจริงอยู่ที่คณะกรรมการผู้สร้างสำนักฯ
(น.ส.พ.ดีโพลมาข่าวสายกลางเสนอข่าว )
อ่านข่าวนี้ได้ที่เว๊บไซ้ท์นี้
http://diplomanews.blogspot.com/2018/02/blog-post_14.html
http://diplomanews.blogspot.com/2012/05/ (มีภาพนิ่ง)
http://diplomanews.blogspot.com/2012/05/ (มีภาพนิ่ง)
ประวัติของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(ที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด)มีใบอนุญาตตัวจริงอยู่ที่คณะกรรมการผู้สร้างสำนักฯ(น.ส.พ.ดีโพลมาข่าวสายกลางเสนอข่าว)
ประวัติของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(ที่พักสงฆ์)มีใบอนุญาตตัวจริงอยู่ที่คณะกรรมการผู้สร้างสำนักฯซึ่งเป็นสาขาที่134 ของวัดมหาธาตุ จ.เพชรบูรณ์
ซึ่งตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 5
อำเภอน้ำหนาว ตำบลน้ำหนาว อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์
67260 ซึ่งเป็นที่ดินที่นาย จำปา แก้วกองและภรรยา(เป็นผู้ถือครองสิทธิ์) ได้มอบหมายให้นายวิทยา
ลิขิตบรรณศักดิ์ สร้างเป็นที่พักสงฆ์
ไม่ใช่วัด เพื่อใช้เป็นสำนักปฎิบัติธรรม
และได้รับอนุญาตจากทางป่าไม้เมื่อวันที่
2 ธันวาคม พ.ศ. 2552
(ยังไม่ได้มอบทรัพย์สินบางส่วนเช่นที่พักของฆราวาสจำนวน15ห้องและอื่นๆให้กับพระสงฆ์หรือหน่วยงานใดอย่างเป็นทางการจึงยังคงเป็นทรัพย์สินของประชาชนผู้สร้างตามกฎหมาย) โดยต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขของกรมป่าไม้คือห้ามสร้างวัดทุกๆฝ่ายต่างพร้อมใจกันมอบหมายให้ นาย วิทยา ลิขิตบรรณศักดิ์
เป็นผู้ดูแลและทำการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด มานานหลายปีแล้วตั้งแต่พ.ศ.2546
และได้ตั้งกรรมการบริหารขึ้นมาชุดหนึ่งชื่อว่า
คณะกรรมการผู้สร้างและดูแลสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่่โดยมีนางกิตติมา
รักษาธรรมเจริญ เป็นประธานกรรมการ และคณะกรรมการดังต่อไปนี้
1.นางกิตติมา
รักษาธรรมเจริญ(ประธาน)
2.นาย มีวิทยา ลิขิตบรรณศักดิ์ (กรรมการ)3.นายปฐมภพ หิรัญสัจจาเลิศ
(กรรมการ) 4.นายอภิรัตน์ งามอมรภิลักษณ์(รองประธาน) 5.นางนภาพร
เพิ่มเพียรกิจการ(กรรมการ) ยังมีกรรมการอีกหลายท่านที่ไม่ได้เอ่ยนามณ.ที่นี้
2.นาย มีวิทยา ลิขิตบรรณศักดิ์ (กรรมการ)3.นายปฐมภพ หิรัญสัจจาเลิศ
(กรรมการ) 4.นายอภิรัตน์ งามอมรภิลักษณ์(รองประธาน) 5.นางนภาพร
เพิ่มเพียรกิจการ(กรรมการ) ยังมีกรรมการอีกหลายท่านที่ไม่ได้เอ่ยนามณ.ที่นี้
คณะกรรมการมีหน้าที่พัฒนาและบำรุงสำนักฯและพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองต่อไป.....อ่านข่าวนี้ได้ที่เว๊บไซ้ท์นี้
ที่พักสงฆ์ สำนักสงฆ์ และวัด อ่านข่าวนี้ได้ที่... (น.ส.พ.ดีโพลมาข่าวสายกลางข่าว)http://diplomanews.blogspot.com/2018/02/blog-post_49.html
หรือเปิด google แล้วพิมพ์คำว่า(ดีโพลมา/ที่พักสงฆ์)
ที่พักสงฆ์ สำนักสงฆ์ และวัด
(๑)
นายอุดมศักดิ์ ชูโตชนะ นักวิชาการศาสนาปฏิบัติกา สถาบันพระสังฆาธิการ
ชาวพุทธโดยทั่วไปมักได้ยินและคุ้นเคยคำว่า ที่พักสงฆ์ สำนักสงฆ์ และวัด โดยส่วนใหญ่เข้าใจความหมายที่ไม่ตรงกับกฏหมาย
และผลที่จะเกิดในทางกฎหมาย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๑ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่างคือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอย่างหนึ่ง
และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง สำหรับสำนักสงฆ์นั้นไม่ปรากฎว่าพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้บัญญัติความหมายไว้ว่าหมายถึงอะไร
แต่ย้อนกลับไปดูพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑
ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ฉบับแรก ได้บัญญัติไว้ในมาตรา ๕
กำหนดว่า วัดมี ๓ อย่าง คือ พระอารามหลวง อารามราษฎร์ และ ที่สำนักสงฆ์
และกำหนดให้ความหมายของคำว่า “ที่สำนักสงฆ์” คือวัดซึ่งยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
ต่อมาเมื่อมีการยกเลิกพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์
ร.ศ. ๑๒๑ และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ ขึ้นใช้บังคับแทน มาตรา ๓๘
กำหนดให้วัดมี ๒ อย่าง คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา อย่างหนึ่ง
และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง ต่อมาได้มีการยกเลิกพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔
และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันขึ้นใช้บังคับแทน
โดยมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนดให้วัดมี ๒
อย่าง คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอย่างหนึ่ง และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง
โดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ที่ตราขึ้นในภายหลังมิได้มีบทบัญญัติให้เห็นว่ามีความประสงค์จะให้ลักษณะของสำนักสงฆ์มีความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากที่เคยบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์
ร.ศ. ๑๒๑ จึงต้องถือว่าสำนักสงฆ์ หมายถึง
วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
จากที่อ้างถึงพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
จึงพอสรุปได้ว่า ที่พักสงฆ์ หมายถึงสถานที่พำนักพักพิงชั่วคราวของพระภิกษุสามเณร
ซึ่งยังมิได้เป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย ที่พักสงฆ์ จึงไม่มีสิทธิใช้คำว่า สำนักสงฆ์ หรือ วัด
นำหน้าชื่อสถานที่ แต่หากดำเนินการขอสร้างวัด และตั้งวัดตามระเบียบของทางราชการ
เมื่อได้รับอนุญาตให้สร้างวัด และตั้งวัดโดยถูกต้องตามกฎหมาย
จึงจะถือว่าเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย
น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์
ข่าวสายกลาง
และน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลางขอเสนอ
วัด สำนักสงฆ์
และที่พักสงฆ์
วัดในประเทศไทย
ตามสถิติข้อมูลของกรมการศาสนามีวัดซึ่งได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
และยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จำนวนทั้งสิ้น ๓๒,๗๑๐
วัด๖ โดยไม่ได้กล่าวถึงจำนวนสำนักสงฆ์
ซึ่งวัดตามมาตรา ๓๑ แห่งพระบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มีสองอย่างคือ
วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และสำนักสงฆ์ และมาตรา ๓๒ กล่าวว่า “การสร้าง การตั้ง การรวม การย้าย การยุบเลิกวัด
และการขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมา ให้เป็นตามวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง” ซึ่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๐๗) ที่อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖
และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้บัญญัติถึง
ชาวพุทธโดยทั่วไปมักได้ยินและคุ้นเคยคำว่า ที่พักสงฆ์ สำนักสงฆ์ และวัด โดยส่วนใหญ่เข้าใจความหมายที่ไม่ตรงกับกฏหมาย
และผลที่จะเกิดในทางกฎหมาย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๑ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่างคือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอย่างหนึ่ง
และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง สำหรับสำนักสงฆ์นั้นไม่ปรากฎว่าพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้บัญญัติความหมายไว้ว่าหมายถึงอะไร
แต่ย้อนกลับไปดูพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑
ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ฉบับแรก ได้บัญญัติไว้ในมาตรา ๕
กำหนดว่า วัดมี ๓ อย่าง คือ พระอารามหลวง อารามราษฎร์ และ ที่สำนักสงฆ์
และกำหนดให้ความหมายของคำว่า “ที่สำนักสงฆ์” คือวัดซึ่งยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
ต่อมาเมื่อมีการยกเลิกพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ ขึ้นใช้บังคับแทน มาตรา ๓๘ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่าง คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา อย่างหนึ่ง และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง ต่อมาได้มีการยกเลิกพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันขึ้นใช้บังคับแทน โดยมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่าง คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอย่างหนึ่ง และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง โดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ที่ตราขึ้นในภายหลังมิได้มีบทบัญญัติให้เห็นว่ามีความประสงค์จะให้ลักษณะของสำนักสงฆ์มีความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากที่เคยบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ จึงต้องถือว่าสำนักสงฆ์ หมายถึง วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
จากที่อ้างถึงพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน จึงพอสรุปได้ว่า ที่พักสงฆ์ หมายถึงสถานที่พำนักพักพิงชั่วคราวของพระภิกษุสามเณร ซึ่งยังมิได้เป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย ที่พักสงฆ์ จึงไม่มีสิทธิใช้คำว่า สำนักสงฆ์ หรือ วัด นำหน้าชื่อสถานที่ แต่หากดำเนินการขอสร้างวัด และตั้งวัดตามระเบียบของทางราชการ เมื่อได้รับอนุญาตให้สร้างวัด และตั้งวัดโดยถูกต้องตามกฎหมาย จึงจะถือว่าเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ต่อมาเมื่อมีการยกเลิกพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ ขึ้นใช้บังคับแทน มาตรา ๓๘ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่าง คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา อย่างหนึ่ง และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง ต่อมาได้มีการยกเลิกพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันขึ้นใช้บังคับแทน โดยมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่าง คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอย่างหนึ่ง และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง โดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ที่ตราขึ้นในภายหลังมิได้มีบทบัญญัติให้เห็นว่ามีความประสงค์จะให้ลักษณะของสำนักสงฆ์มีความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากที่เคยบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ จึงต้องถือว่าสำนักสงฆ์ หมายถึง วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
จากที่อ้างถึงพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน จึงพอสรุปได้ว่า ที่พักสงฆ์ หมายถึงสถานที่พำนักพักพิงชั่วคราวของพระภิกษุสามเณร ซึ่งยังมิได้เป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย ที่พักสงฆ์ จึงไม่มีสิทธิใช้คำว่า สำนักสงฆ์ หรือ วัด นำหน้าชื่อสถานที่ แต่หากดำเนินการขอสร้างวัด และตั้งวัดตามระเบียบของทางราชการ เมื่อได้รับอนุญาตให้สร้างวัด และตั้งวัดโดยถูกต้องตามกฎหมาย จึงจะถือว่าเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย
น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์
ข่าวสายกลาง
และน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลางขอเสนอ
วัด สำนักสงฆ์
และที่พักสงฆ์
การสร้างวัด
การตั้งวัด การรวมวัด การย้ายวัด การยุบเลิกวัด และการขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมา
โดยไม่ได้กล่าวถึงการสร้างสำนักสงฆ์ ดังนั้น สำนักสงฆ์ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศไทย
ย่อมเป็นการใช้เรียกชื่อพ้องเป็นเพียงที่พักสงฆ์ คือ
เป็นที่พำนักของพระภิกษุที่ไม่ได้ขออนุญาตสร้างวัดและตั้งวัดเพราะสำนักสงฆ์
ตามมาตรา ๓๑ นั้น อาจแปลตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย คือ
วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ซึ่งถ้าเกิดคดีความขึ้น๗ กรณีนี้ผู้เขียนเห็นว่า
ที่พักสงฆ์ที่ไม่ได้ขออนุญาตในการสร้างวัดและการตั้งวัดย่อมไม่อยู่ในความคุ้มครองหรือในบังคับของพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๐๕ ดังเช่นมาตรา ๓๔ บัญญัติว่า “ที่วัด
และที่ธรณีสงฆ์ จะโอนกรรมสิทธิ์ได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ๘ และห้ามมิให้บุคคลใดยกอายุความขึ้นต่อสู้กับวัดในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นที่วัด
และที่ธรณีสงฆ์” มาตรา ๓๕ บัญญัติว่า “ที่วัดและที่ธรณีสงฆ์เป็นทรัพย์สินซึ่งไม่อยู่ในความรับผิดชอบแห่งการบังคับคดี๙” เมื่อที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด ย่อมไม่อยู่ในสายการปกครองของคณะสงฆ์
ทั้งฝ่ายสงฆ์ และฝ่ายบ้านเมืองจึงควบคุมได้ยาก
อีกทั้งการจัดประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์ ก็อาจไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
อาจก่อให้เกิดกรณีพิพาทขึ้นได้ ซึ่งอาจเป็นที่เสื่อมเสียแก่พระศาสนาได้เหมือนกัน
ที่มา.....http://web.krisdika.go.th/activityDetail.jsp?actType=I&actCode=74&head=4&item=n5
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
ด้วยความ
ปรารถนาดี จาก.....
ผ.อ.เกรียงไกร
ผู้อำนวยการน.ส.พ.
ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง
และน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลางประธานชมรมนักข่าวช่วยสังค
ประธานชมรมสื่อมวลชน
ประธานชมรมสื่อมวลชน
และเพื่อนทนายความ
มีทนายความช่วยคนจน
ผู้ชำนาญและเชี่ยวชาญในการทำข่าวลง ใน youtube
พร้อมด้วยรองบ.ก.รองฯกรรณชัย(นามปากกาผู้กองแอ๊ด)
ขออนุญาตแทรกข่าวประชาสัมพันธ์ครับ
อยากทราบประวัติของ
สำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(เป็นที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด)ให้เปิด google แล้วพิมพ์คำว่า (นามปากกาภูไผ่)
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
ที่กัลปนา คือ
ที่ซึ่งมีผู้อุทิศผลประโยชน์แก่วัดหรือพระศาสนา(หน้า.7.)
ที่วัด คงไม่มีปัญหาสงสัย เพราะโดยปกติกำหนดเอาเขตรั้วหรือกำแพงวัดอาจจะกำหนดเอาแนวต้นไม้ แนวป่า แนวแม่น้ำลำคลอง หรือ เสาหลักปักเป็นเขตวัดได้ เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นเขตวัด
ที่วัด คงไม่มีปัญหาสงสัย เพราะโดยปกติกำหนดเอาเขตรั้วหรือกำแพงวัดอาจจะกำหนดเอาแนวต้นไม้ แนวป่า แนวแม่น้ำลำคลอง หรือ เสาหลักปักเป็นเขตวัดได้ เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นเขตวัด
ที่ธรณีสงฆ์ ความจริงก็คือที่ดินของวัดนั้นเอง เพียงแต่แนวรั้วหรือกำแพงวัดคลุมไปไม่ถึง
พูดอีกอย่างหนึ่งว่า
ที่ธรณีสงฆ์คือที่ดินของวัดที่อยู่นอกรั้วหรือกำแพงวัดหรืออยู่นอกวัด
ซึ่งทางวัดอาจจะใช้เป็นที่จัดประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น
สร้างอาคารห้องแถวให้คนเช่า ถ้าที่ดินเป็นที่สวนหรือที่ไร่ที่นา ก็ให้คนเช่าทำสวนไร่ทำนาได้กฎหมายจึงใช้คำว่า
ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด
ที่กัลปนา ไม่ใช่ที่ดินของวัด
กรรมสิทธิ์ที่ดินยังเป็นของคนอื่นอยู่ แต่เจ้าของที่ดินนั้น มีจิตศรัทธา
อุทิศยกผลประโยชน์อันเกิดจากที่ดินนั้นให้แก่วัดใดวัดหนึ่ง หรือแก่พระศาสนา เช่น
นาย ก. มีที่นาอยู่ ๒๐ ไร่ให้คนเช่าทำนาปีละ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาท)
นั้น ให้แก่วัดใดวัดหนึ่งหรือแก่พระศาสนา แต่ที่ดินนั้นยังเป็นกรรมสิทธิ์ของนาย ก.
อยู่
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
เจ้าสำนักแปลว่าอะไร
เจ้าสำนัก
[n.] head of the institute
[syn.] ผู้อำนวยการ,ผู้ดูแล
[syn.] ผู้อำนวยการ,ผู้ดูแล
เจ้าสำนัก
[n.] head of the institute
[syn.] ผู้อำนวยการ,ผู้ดูแล
[syn.] ผู้อำนวยการ,ผู้ดูแล
.............................................................
|
เจ้าแม่กวนอิมบนสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(ที่พักสงฆ์)(ไม่ใช่วัด)
ตั้งอยู่ที่หมู่ 5
ตำบลน้ำหนาว อำเภอน้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ เป็นสถานที่เปิด ใครๆก็ขึ้นไปกราบไหว้และปฎิบัติธรรมได้
ทัศนียภาพสงบเงียบ และสวยงามมาก โดยไม่ต้องเสียเงินใดๆทั้งสิ้น อยู่ในความดูแลของคณะกรรมการผู้สร้างสำนักฯซึ่งมีใบอนุญาตโดยถูกต้องตามกฎหมาย(ใบอนุญาตตัวจริงอยู่ที่คณะกรรมการผู้สร้างสำนัก)
คณะกรรมการผู้สร้างฯไม่ได้พักอยู่บนสำนักฯเป็นประจำ
ส่วนใหญ่อยู่กรุงเทพฯนานๆขึ้นไปที
ที่นี่เป็นที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด จึงไม่ให้ใครก็ตามมาพักแรมนานเกินควร ถ้าท่านขึ้นไปปฎิบัติธรรมโดยไปเช้าเย็นกลับก็สามารถขึ้นไปได้ทันที
แต่ถ้าท่านต้องการปฎิบัติธรรมค้างคืนเป็นหมู่คณะก็ให้ปรึกษาคณะกรรมการผู้สร้างก่อน
เขาจะได้ดูแลท่านเป็นอย่างดีโดยไม่เสียเงินใดๆทั้งสิ้น
ถ้าท่านติดต่อคณะกรรมการผู้สร้างไม่ได้ก็ให้ติดต่อผู้เขียนๆจะช่วยประสานงานให้(โทร.086-7928056)หรือ095-9970577) (ผู้เขียน)
เจ้าแม่กวนอิมที่นี่ศักดิ์สิทธิ์มากตามประสบการณ์ของผู้เขียนเองและคณะกรรมการผู้สร้างฯเป็นความเชื่อส่วนตัว
(โปรดใช้วิจารณญาณในการรับชมและรับฟังข่าวสาร)
ท่านเจ้าแม่กวนอิมจะเป็นผู้มาเข้าฝันคณะกรรมการผู้สร้างฯบางคนให้ออกแบบในการก่อสร้างตามที่ท่านบอกกล่าวในฝันทุกขั้นตอนจนสร้างเสร็จ
เราไม่ต้องการให้ใครหลงเชื่อเพราะเราไม่ได้เรียกร้องเงินทองใดๆทั้งสิ้นแต่เป็นการเล่าความฝันให้ฟังท่านจะเชื่อหรือไม่เชื่อก็ได้ ถ้าท่านไปปฎิบัติธรรมมีคนเรียกร้องเงินทองจากท่านอย่าได้หลงเชื่อ
แจ้งตำรวจจับได้ทันที ใครกราบไหว้ท่านและทำแต่ความดี จะได้ดีและเจริญก้าวหน้า
ทุกคนส่วนใครที่คิดร้ายต่อท่านและคิดร้ายต่อคณะกรรมการผู้สร้างฯจะมีอันเป็นไปทุกคน
เห็นมากับตา คณะกรรมการผู้สร้างฯมีฐานะดีทุกคน
และมีจุดประสงค์พัฒนาพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง มั่นคง
และต้องการสอนให้ทุกคนเป็นคนดี มีศีลธรรม โดยไม่หวังผลตอบแทนใดๆทั้งสิ้น
ถ้ามีคนแอบอ้างว่ามีอำนาจมาไล่ท่าน โดยที่ท่านเป็นคนดีไม่ได้ทำผิดอะไร
ให้แจ้งตำรวจได้ทันที
และโทร.แจ้งให้คณะกรรมการผู้สร้างฯทราบ(มีคนแอบอ้างบ้างบางครั้ง)เปิดgoogleแล้วพิมพ์ประวัติสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่
ภ.บ.ท.
5 คืออะไร?
ภ.บ.ท.5 เป็นแบบแสดงรายการที่ดินที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่จะต้องไปยื่นแบบดังกล่าวเพื่อชำระภาษีบำรุงท้องที่ประจำปีต่อเจ้าพนักงานประเมิน
ณ สำนักงานอันเป็นที่ตั้งขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่ที่ที่ดินตั้งอยู่ เช่น
สำนักงานเขตในกรุงเทพมหานคร สำนักงานเทศบาล ที่ว่าการอำเภอ
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ทั้งนี้ เป็นไปตามพระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่
พ.ศ.2508
ภ.บ.ท. 5 จึงมิใช่เอกสารสิทธิในที่ดินที่ออกตามประมวลกฎหมายที่ดิน
การซื้อขายจึงทำได้เพียงการส่งมอบการครอบครองที่ดินให้แก่กันเท่านั้น
ไม่สามารถไปจดทะเบียน สิทธิและนิติกรรม ณ สำนักงานที่ดินท้องที่ได้ บุคคลที่มีชื่อใน
ภ.บ.ท. 5 อาจจะไม่ใช่เจ้าของที่ดิน
และที่ดินอาจจะเป็นที่หวงห้ามที่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิตาม
ประมวลกฎหมายที่ดินก็อาจเป็นได้ การซื้อขายที่ดินที่มีเพียง ภ.บ.ท. 5 จึงเป็นการเสี่ยงภัยของผู้ซื้อเอง หากประสงค์จะซื้อที่ดินที่มีหลักฐาน
ภ.บ.ท. 5 ควรให้ผู้ขายยื่นคำขอออกหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อพิสูจน์สิทธิก่อนว่าสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่
หากสามารถออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินได้และขอออกเอกสารสิทธิ
ในที่ดินตามหลักฐาน ภ.บ.ท. 5 เนื้อที่ที่คำนวณได้จากการรังวัดออกเอกสารสิทธิย่อมไม่ตรงกับเนื้อที่ที่ระบุไว้ในหลักฐาน
ภ.บ.ท. 5 ได้เพราะถือว่าเป็นที่ดินที่ไม่มีหลักฐานสำหรับที่ดิน
ไม่เคยมีการรังวัดคำนวณเนื้อที่โดยกรมที่ดินมาก่อนแต่อย่างใด
อีกทั้งการรังวัดออกเอกสารสิทธิที่ดินจะใช้วิธีการรังวัดทำแผนที่และคำนวณเนื้อที่โดยใช้หลักวิชาการทางแผนที่ซึ่งจะมี
มาตรฐานความละเอียดถูกต้อง การแจ้งเนื้อที่ตามหลักฐาน ภ.บ.ท.5 จึงเป็นการแจ้งของผู้ทำประโยชน์ในที่ดินโดยประมาณเพื่อชำระภาษีบำรุงท้องที่ประจำปีเท่านั้น
คำถาม-คำตอบที่ควรรู้
ถาม
1.อยากทราบว่า ภ.ท.บ. 5 นี้สามารถเปลี่ยนเป็น
ส.ค.1 หรือ น.ส.3 ได้หรือไม่
2. เปลี่ยนได้หรือไม่ได้เพราะอะไร ถ้าเปลี่ยนได้ควรทำอย่างไร?
ตอบ ภ.บ.ท. 5 เป็นแบบแสดงรายการที่ดินเพื่อเสียภาษีบำรุงท้องที่ ดังนั้น
ที่ดินบริเวณดังกล่าวจึงเป็นที่ดินมือเปล่า ไม่มีเอกสารสิทธิใด ๆ และ
จะสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่นั้น
ต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อนว่าที่ดินดังกล่าวเป็นที่สงวนหวงห้ามมิให้ออกเอกสารสิทธิหรือไม่
อย่างไร?
ถาม อยากทราบเรื่องการทำสัญญาซื้อขายที่ดิน
น.ส.3 กับซื้อที่ดินที่มีใบ ภ.บ.ท.5 การทำสัญญาซื้อขายต้องทำ
2 ฉบับ หรือรวมกันได้ แล้วมีแบบฟอร์มในการซื้อขาย
ดังกล่าวหรือไม่?
ตอบ สัญญาซื้อขายที่ดิน
เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ดังนั้น คุณต้องทำความตกลงกันเอง
อย่างไรก็ตาม น.ส. 3 เป็นเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน
แต่ ภ.บ.ท. 5 มิใช่เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน
การซื้อขายจึงทำได้เพียงการส่งมอบการครอบครองที่ดินให้แก่กันเท่านั้น
ไม่สามารถไปจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ณ สำนักงานที่ดินท้องที่ได้
ถาม ซื้อที่ดินเพื่อปลูกยางพารา
แต่ที่ดินไม่มีเอกสารสิทธิ์อะไรเลย มีเพียงใบเสียภาษีดอกหญ้า
แต่มีการทำสัญญาซื้อขายที่บ้านกำนันมีพยานหลายคน ที่แปลงนี้ขายต่อมาหลายทอดแล้ว
จึงกังวลว่าภายในอนาคตมีจะมีปัญหาตามมา และสามารถฟ้องศาลได้หรือไม่
และเวลาที่ขายก็ไม่ได้มีการวัด เพียงแต่ตกลงกันด้วยวาจาเท่านั้น
ตอบ ที่ดินมีเพียงใบเสียภาษียอนหลัง
เป็นเพียงแบบชำระภาษีบำรุงท้องที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายที่ดิน
ที่ดินอาจเป็นที่หวงห้าม ที่สาธารณะประโยชน์หรือที่ปีหรือเป็นที่
ที่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิ์ได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน
การซื้อขายที่ดินที่มีเพียงแบบเสียภาษีบำรุงท้องที่จึงเป็นการเสียงของผู้ซื้อเองควรให้เจ้าของขอออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินก่อน
ถาม ภ.บ.ท. คืออะไร
แล้วสามารถซื้อที่ดินที่มีใบ ภ.บ.ท.5 ได้หรือไม่?
ตอบ ภ.บ.ท.5 เป็นเพียงแบบแสดงรายการเพื่อชำระภาษีท้องที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน
บุคคลที่มีชื่อใน ภ.บ.ท.5 อาจจะไม่ใช่เจ้าของที่ดินและที่ดินอาจจะเป็นที่หวงห้าม
ที่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินก็อาจเป็นได้
การซื้อขายที่ดินที่มีเพียง ภ.บ.ท.5 จึงเป็นการเสี่ยงภัยของผู้ซื้อ
หากท่านจะซื้อที่ดินที่มีหลักฐาน ภ.บ.ท.5 ให้ยื่นคำขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อพิสูจน์สิทธิก่อนว่าสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่
หากท่านต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการนำ ภ.บ.ท.5 ไปออกโฉนดที่ดิน
ขอให้สอบถามที่สำนักงานที่ดินทุกแห่ง
ถาม ใบ ภ.บ.ท. 5 นำมาขอออกโฉนดที่ดินได้หรือไม่?
ตอบ ภ.บ.ท. 5 สามารถใช้เป็นเอกสารประกอบในการขอออกโฉนดที่ดินได้ หากที่ดินดังกล่าวมิได้เป็นที่สงวนหวงห้ามมิให้ออกโฉนดที่ดิน
ภ.บ.ท.5 เป็นเพียงแบบแสดงรายการเพื่อชำระภาษีท้องที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน
บุคคลที่มีชื่อใน ภ.บ.ท.5 อาจจะไม่ใช่เจ้าของที่ดินและที่ดินอาจจะเป็นที่หวงห้าม
ที่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินก็อาจเป็นได้
การซื้อขายที่ดินที่มีเพียง ภ.บ.ท.5 จึงเป็นการเสี่ยงภัยของผู้ซื้อ
หากท่านจะซื้อที่ดินที่มีหลักฐาน ภ.บ.ท.5 ให้ยื่นคำขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อพิสูจน์สิทธิก่อนว่าสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่
หากท่านต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการนำ ภ.บ.ท.5 ไปออกโฉนดที่ดิน
ขอให้สอบถามที่สำนักงานที่ดินทุกแห่ง
ภ.บ.ท. คืออะไร
แล้วสามารถซื้อที่ดินที่มีใบ ภ.บ.ท.5 ได้หรือไม่?
ภ.บ.ท.5 เป็นเพียงแบบแสดงรายการเพื่อชำระภาษีท้องที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน
บุคคลที่มีชื่อใน ภ.บ.ท.5 อาจจะไม่ใช่เจ้าของที่ดินและที่ดินอาจจะเป็นที่หวงห้าม
ที่ไม่อยู่ใน
หลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินก็อาจเป็นได้
การซื้อขายที่ดินที่มีเพียง ภ.บ.ท.5 จึงเป็นการเสี่ยงภัยของผู้ซื้อ
หากท่านจะซื้อที่ดินที่มีหลักฐาน ภ.บ.ท.5 ให้ยื่นคำขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อพิสูจน์สิทธิก่อนว่าสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่
หากท่านต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการนำ ภ.บ.ท.5 ไปออกโฉนดที่ดิน
ขอให้สอบถามที่สำนักงานที่ดินทุกแห่ง
ที่มา: กรมที่ดิน
กระทรวงมหาดไทย(เครดิต)
อยากรู้ประวัติสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(เป็นที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด)ให้เปิดgoogleแล้วพิมพ์คำว่า(นามปากกาภูไผ่)
http://diplomanews.blogspot.com/2012/05/
http://diplomanews.blogspot.com/2012/05/
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
(สำนักปฎิบัติภูไผ่ฯ(เป็นนามปากกาเริ่มใช้เมื่อพ.ศ.2555)รายงาน)ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลางและดีโพลมานิวส์เดินสายกลางถ่ายทอด
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
ต้องการดูภาพของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่ให้เปิดgoogleแล้วพิมพ์คำว่า(นามปากกาภูไผ่)
หรือคลิกที่ภาษาอังกฤษด้านล่างนี้......
(มีคลิปลงyoutube)
ขอขอบคุณข้อมูลจาก สำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่สร้างโดยคุณวิทยา
ลิขิตบรรณศักดิ์ร่วมกับคณะกรรมการผู้สร้างจากกรุงเทพฯหลายๆท่านเป็นผู้ริเริ่มสร้างตั้งแต่
พ.ศ.2546 (เครดิต)
โปรดคลิกที่ภาษาอังกฤษหรือรูปสามเหลี่ยมด้านบนนี้
เพื่อดูคลิปที่เคลื่อนไหวได้(ถ้ามี)บางข่าวอาจจะไม่มี
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
นี่คือตัวอย่างข่าวบางส่วนบางหน้าเท่านั้นที่เราได้นำไปลงตีพิมพ์ในสื่อสิ่งพิมพ์ของเรามาแล้วครั้งหนึ่งตามวันที่ซึ่งระบุไว้คำว่า(ฉบับ
วันที่.....)
สื่อสิ่งพิมพ์น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลางจะเคียงคู่ไปด้วยกันกับสื่อในเครือทุกๆสื่อ
(เครดิต)ขอให้เครดิตชื่อด้านล่างนี้เท่านั้น(credit)
ดีโพลมาขอเสนอเรื่อง.......................................................................................
(เครดิต)ขอให้เครดิตชื่อด้านบนนี้เท่านั้น)(credit)
(เครดิต)
(สำนักปฎิบัติภูไผ่ฯ(เป็นนามปากกาเริ่มใช้เมื่อพ.ศ.2555)รายงาน)ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลางและดีโพลมานิวส์เดินสายกลางถ่ายทอด
ข่าวของเราจะต้องมีคำว่าดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลางและดีโพลมานิวส์เดินสายกลางปรากฏอยู่เท่านั้น
ถ้าไม่มีแสดงว่าไม่ใช่ข่าวของเรา
คลิปอื่นไม่เกี่ยวกับเราๆไม่ขอนำเสนอ
*****************
ทีมงานน.ส.พ.)ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง)มีผู้บริหารดังนี้)
บ.ก.เกรียงไกร(พรเทพ)ไตรฯ(พี่เทพ) (บรรณาธิการและ)
หัวหน้ากองบรรณาธิการ)/อดีตห.น.ข่าวร้องทุกข์และ)
ห.น.ศูนย์วิทยุน.ส.พ.ดาวสยาม)/อดีตคอลัมนิสต์)น.ส.พ.เดลิมิเร่อร์)
ปัจจุบันผู้อำนวยการ)น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง)
และผู้อำนวยการน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลาง
Diplomanews
Online/Saiglang Press Newspaper
Grianggrai Trai (chern){ Director }
姓...陳( Chern)名...威武)名前マイティ
เป็นประธานชมรมนักข่าวช่วยสังคม
และเป็นหัวหน้าสำนักงานขมรม)สื่อมวลชนและเพื่อนทนายความ)
รองฯ กรรณชัย)รองบรรณาธิการ(นามปากกา”ผู้กองแอ๊ด”)
สนม บุญจันทึก
สื่อมวลชนประจำสื่อ(คมชัดลึก)และสื่อ(เนชั่น) เป็นที่ปรึกษาผู้อำนวยการ
วิลาสินี เจริญสุข(ที่ปรึกษา)-ที่ปรึกษาผู้อำนวยการ
ปฐมภพ หิรัญสัจจาเลิศ(ประธานที่ปรึกษาผ.อ.)(นามปากกา “คนสายกลาง”)
วิทยา
ลิขิตบรรณศักดิ์/ที่ปรึกษาผู้อำนวยการน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง
และน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลาง
ต้องการดูภาพของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่ให้เปิดgoogleแล้วพิมพ์คำว่า(นามปากกาภูไผ่)
หรือคลิกที่ภาษาอังกฤษด้านล่างนี้......
(คลิกที่ภาษาอังกฤษเพื่อดูภาพเคลื่อนไหวได้)
สมชัย นามปากกา ราชพฤกษ์/ที่ปรึกษา ผู้อำนวยการ
จตุพล(นามปากกาอัพเดท)/สุพรรณษา แซ่อั๊ง)นามปากกา"ผักบุ้ง)
บุญรุ่ง พวงทอง(ที่ปรึกษาผ.อ.)/นามปากกา(คนเดลิมิเร่อร์)
วิลาสินี เจริญสุข(ที่ปรึกษา)-/ที่ปรึกษาผู้อำนวยการ
ธนกฤต ร่ำรวยถาวร
(ผู้ช่วยบรรณาธิการ)
นามปากกา(ภูไผ่)(ที่ปรึกษาผู้อำนวยการ)
นามปากกาสำนักปฎิบัติภูไผ่(ที่ปรึกษาผู้อำนวยการ)
มานะ ดวลโคกสูง(ที่ปรึกษากฎหมาย)
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
ชมรมสื่อมวลชนและเพื่อนทนายความ)....ที่ปรึกษากฎหมาย)เรามีทนายความช่วยเหลือคนจน)
ยินดีต้อนรับทนายความที่มีคุณธรรมทุกท่านมาเป็นเพื่อนและเป็นที่ปรึกษาของชมรมสื่อมวลชนและเพื่อนทนายความ
ครับ เรามีประชาชนที่มาขอความช่วยเหลือในด้านกฎหมายเป็นประจำ
099-2612588(มีไลน์)รวมสื่อต่างๆแล้วเรามี)ผู้อ่านข่าวร่วมหลายแสนคน)
dpm2554@gmail.com)(เรามีพันธมิตรสื่อจำนวนมาก)
Apinunsanggaew(ที่ปรึกษาผ.อ.)นามปากกา“คนพิเศษ”)
โฆษณาเราไม่ได้นำมาลงเอง เราไม่มีโฆษณา
ทุกๆตำแหน่งและทุกๆกิจกรรมของเราไม่หวังผลกำไรใดๆทั้งสิ้นฟรีทุกอย่าง
คลิปอื่นที่ไม่มีชื่อ(ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง)เราไม่เกี่ยวและไม่ขอนำเสนอ
เรามีหลายแว้บไซ้ท์ให้เปิด google แล้วพิมพ์(น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง)
ยินดีสนับสนุนข่าวที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมทุกเรื่อง
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@