วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

ประวัติสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(ที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด)คัดลอกย้อนหลังไปหลายปีจากน.ส.พ.หลายฉบับ(เครดิต) (สำนักปฎิบัติภูไผ่ฯ(เป็นนามปากกาเริ่มใช้เมื่อพ.ศ.2555)รายงาน)ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลางและดีโพลมานิวส์เดินสายกลางถ่ายทอด

หนังสือพิมพ์
ดีโพลมานิวส์
ข่าวสายกลางฉบับ
จับข่าวใส่กล่อง
ฉบับวันที่
28.ก.พ.2562
ผู้อำนวยการ
เกรียงไกร
(พรเทพ)
ไตรสัมฤทธิ์ผล
บรรณาธิการ
ผู้พิมพ์
มีทนายช่วยเหลือคนจนทุกองค์กร
ของเรา
      เป็นองค์กรที่ไม่
     แสวงหาผลกำไร
        0992612588

ประวัติของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(น.ส.พ.ดีโพลมาข่าวสายกลางเสนอข่าวเพื่อเป็นวิทยาทานมีความรู้รอบตัวมากมาย)คัดลอกข่าวจากน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ออนไลน์ประจำวันที่31พ.ค.2555

ภูไผ่ สำนักปฎิบัติธรรม ภูไผ่(ที่พักสงฆ์) ซึ่งเป็นสาขาที่134 ของวัดมหาธาตุ จ.เพชรบูรณ์มีใบอนุญาตตัวจริงอยู่ที่คณะกรรมการผู้สร้างสำนักฯ

(น.ส.พ.ดีโพลมาข่าวสายกลางเสนอข่าว )


อ่านข่าวนี้ได้ที่เว๊บไซ้ท์นี้

 

ประวัติของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(ที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด)มีใบอนุญาตตัวจริงอยู่ที่คณะกรรมการผู้สร้างสำนักฯ(น.ส.พ.ดีโพลมาข่าวสายกลางเสนอข่าว)


ประวัติของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(ที่พักสงฆ์)มีใบอนุญาตตัวจริงอยู่ที่คณะกรรมการผู้สร้างสำนักฯซึ่งเป็นสาขาที่134 ของวัดมหาธาตุ จ.เพชรบูรณ์ 
ซึ่งตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 5 อำเภอน้ำหนาว ตำบลน้ำหนาว อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ 67260 ซึ่งเป็นที่ดินที่นาย จำปา แก้วกองและภรรยา(เป็นผู้ถือครองสิทธิ์) ได้มอบหมายให้นายวิทยา ลิขิตบรรณศักดิ์  สร้างเป็นที่พักสงฆ์ ไม่ใช่วัด เพื่อใช้เป็นสำนักปฎิบัติธรรม
และได้รับอนุญาตจากทางป่าไม้เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม  พ.ศ. 2552
(ยังไม่ได้มอบทรัพย์สินบางส่วนเช่นที่พักของฆราวาสจำนวน15ห้องและอื่นๆให้กับพระสงฆ์หรือหน่วยงานใดอย่างเป็นทางการจึงยังคงเป็นทรัพย์สินของประชาชนผู้สร้างตามกฎหมาย) โดยต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขของกรมป่าไม้คือห้ามสร้างวัดทุกๆฝ่ายต่างพร้อมใจกันมอบหมายให้ นาย วิทยา ลิขิตบรรณศักดิ์ เป็นผู้ดูแลและทำการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด มานานหลายปีแล้วตั้งแต่พ.ศ.2546 และได้ตั้งกรรมการบริหารขึ้นมาชุดหนึ่งชื่อว่า
คณะกรรมการผู้สร้างและดูแลสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่่โดยมีนางกิตติมา รักษาธรรมเจริญ เป็นประธานกรรมการ และคณะกรรมการดังต่อไปนี้
1.นางกิตติมา รักษาธรรมเจริญ(ประธาน)
 2.นาย มีวิทยา ลิขิตบรรณศักดิ์ (กรรมการ)3.นายปฐมภพ หิรัญสัจจาเลิศ
 (กรรมการ) 4.นายอภิรัตน์ งามอมรภิลักษณ์(รองประธาน) 5.นางนภาพร
 เพิ่มเพียรกิจการ(กรรมการ) ยังมีกรรมการอีกหลายท่านที่ไม่ได้เอ่ยนามณ.ที่นี้
 คณะกรรมการมีหน้าที่พัฒนาและบำรุงสำนักฯและพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองต่อไป.....อ่านข่าวนี้ได้ที่เว๊บไซ้ท์นี้

ที่พักสงฆ์ สำนักสงฆ์ และวัด อ่านข่าวนี้ได้ที่... (น.ส.พ.ดีโพลมาข่าวสายกลางข่าว)http://diplomanews.blogspot.com/2018/02/blog-post_49.html


หรือเปิด google แล้วพิมพ์คำว่า(ดีโพลมา/ที่พักสงฆ์)

ที่พักสงฆ์ สำนักสงฆ์ และวัด (๑)
นายอุดมศักดิ์ ชูโตชนะ นักวิชาการศาสนาปฏิบัติกา สถาบันพระสังฆาธิการ
          ชาวพุทธโดยทั่วไปมักได้ยินและคุ้นเคยคำว่า ที่พักสงฆ์ สำนักสงฆ์ และวัด โดยส่วนใหญ่เข้าใจความหมายที่ไม่ตรงกับกฏหมาย และผลที่จะเกิดในทางกฎหมาย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕  มาตรา ๓๑ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่างคือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอย่างหนึ่ง และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง  สำหรับสำนักสงฆ์นั้นไม่ปรากฎว่าพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้บัญญัติความหมายไว้ว่าหมายถึงอะไร แต่ย้อนกลับไปดูพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ฉบับแรก ได้บัญญัติไว้ในมาตรา ๕ กำหนดว่า วัดมี ๓ อย่าง คือ พระอารามหลวง อารามราษฎร์ และ ที่สำนักสงฆ์ และกำหนดให้ความหมายของคำว่า ที่สำนักสงฆ์คือวัดซึ่งยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
         
ต่อมาเมื่อมีการยกเลิกพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ ขึ้นใช้บังคับแทน มาตรา ๓๘ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่าง คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา อย่างหนึ่ง และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง ต่อมาได้มีการยกเลิกพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันขึ้นใช้บังคับแทน โดยมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนดให้วัดมี ๒ อย่าง คือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอย่างหนึ่ง และสำนักสงฆ์ อีกอย่างหนึ่ง โดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ที่ตราขึ้นในภายหลังมิได้มีบทบัญญัติให้เห็นว่ามีความประสงค์จะให้ลักษณะของสำนักสงฆ์มีความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากที่เคยบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑  จึงต้องถือว่าสำนักสงฆ์ หมายถึง วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
          จากที่อ้างถึงพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน จึงพอสรุปได้ว่า ที่พักสงฆ์ หมายถึงสถานที่พำนักพักพิงชั่วคราวของพระภิกษุสามเณร ซึ่งยังมิได้เป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย        ที่พักสงฆ์ จึงไม่มีสิทธิใช้คำว่า สำนักสงฆ์ หรือ วัด นำหน้าชื่อสถานที่ แต่หากดำเนินการขอสร้างวัด และตั้งวัดตามระเบียบของทางราชการ เมื่อได้รับอนุญาตให้สร้างวัด และตั้งวัดโดยถูกต้องตามกฎหมาย จึงจะถือว่าเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย

น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์
ข่าวสายกลาง
และน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลางขอเสนอ
วัด สำนักสงฆ์ และที่พักสงฆ์
     วัดในประเทศไทย ตามสถิติข้อมูลของกรมการศาสนามีวัดซึ่งได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จำนวนทั้งสิ้น ๓๒,๗๑๐ วัด โดยไม่ได้กล่าวถึงจำนวนสำนักสงฆ์ ซึ่งวัดตามมาตรา ๓๑ แห่งพระบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มีสองอย่างคือ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และสำนักสงฆ์ และมาตรา ๓๒ กล่าวว่า “การสร้าง การตั้ง การรวม การย้าย การยุบเลิกวัด และการขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมา ให้เป็นตามวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง” ซึ่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๐๗) ที่อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้บัญญัติถึง


การสร้างวัด การตั้งวัด การรวมวัด การย้ายวัด การยุบเลิกวัด และการขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมา โดยไม่ได้กล่าวถึงการสร้างสำนักสงฆ์ ดังนั้น สำนักสงฆ์ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศไทย ย่อมเป็นการใช้เรียกชื่อพ้องเป็นเพียงที่พักสงฆ์ คือ เป็นที่พำนักของพระภิกษุที่ไม่ได้ขออนุญาตสร้างวัดและตั้งวัดเพราะสำนักสงฆ์ ตามมาตรา ๓๑ นั้น อาจแปลตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย คือ วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ซึ่งถ้าเกิดคดีความขึ้น กรณีนี้ผู้เขียนเห็นว่า ที่พักสงฆ์ที่ไม่ได้ขออนุญาตในการสร้างวัดและการตั้งวัดย่อมไม่อยู่ในความคุ้มครองหรือในบังคับของพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ดังเช่นมาตรา ๓๔ บัญญัติว่า “ที่วัด และที่ธรณีสงฆ์ จะโอนกรรมสิทธิ์ได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ และห้ามมิให้บุคคลใดยกอายุความขึ้นต่อสู้กับวัดในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นที่วัด และที่ธรณีสงฆ์” มาตรา ๓๕ บัญญัติว่า “ที่วัดและที่ธรณีสงฆ์เป็นทรัพย์สินซึ่งไม่อยู่ในความรับผิดชอบแห่งการบังคับคดี” เมื่อที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด ย่อมไม่อยู่ในสายการปกครองของคณะสงฆ์ ทั้งฝ่ายสงฆ์ และฝ่ายบ้านเมืองจึงควบคุมได้ยาก อีกทั้งการจัดประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์ ก็อาจไม่ถูกต้องตามกฎหมาย อาจก่อให้เกิดกรณีพิพาทขึ้นได้ ซึ่งอาจเป็นที่เสื่อมเสียแก่พระศาสนาได้เหมือนกัน

ที่มา.....http://web.krisdika.go.th/activityDetail.jsp?actType=I&actCode=74&head=4&item=n5


(เครดิต)นายพิสิษฐ์  นภาธนาสกุล

* นิติกร ๓ ศูนย์ข้อมูลกฎหมายกลาง สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา(เครดิต)
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
ด้วยความ
ปรารถนาดี  จาก.....
ผ.อ.เกรียงไกร 
 ไตรสัมฤทธิ์ผล
ผู้อำนวยการน.ส.พ.
ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง
และน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลางประธานชมรมนักข่าวช่วยสังค
ประธานชมรมสื่อมวลชน
และเพื่อนทนายความ
มีทนายความช่วยคนจน
ผู้ชำนาญและเชี่ยวชาญในการทำข่าวลง ใน youtube
พร้อมด้วยรองบ.ก.รองฯกรรณชัย(นามปากกาผู้กองแอ๊ด)
ขออนุญาตแทรกข่าวประชาสัมพันธ์ครับ
อยากทราบประวัติของ สำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(เป็นที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด)ให้เปิด google แล้วพิมพ์คำว่า (นามปากกาภูไผ่)
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑




ที่กัลปนา คือ ที่ซึ่งมีผู้อุทิศผลประโยชน์แก่วัดหรือพระศาสนา(หน้า.7.)
ที่วัด คงไม่มีปัญหาสงสัย เพราะโดยปกติกำหนดเอาเขตรั้วหรือกำแพงวัดอาจจะกำหนดเอาแนวต้นไม้ แนวป่า แนวแม่น้ำลำคลอง หรือ เสาหลักปักเป็นเขตวัดได้ เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นเขตวัด
ที่ธรณีสงฆ์ ความจริงก็คือที่ดินของวัดนั้นเอง เพียงแต่แนวรั้วหรือกำแพงวัดคลุมไปไม่ถึง พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ที่ธรณีสงฆ์คือที่ดินของวัดที่อยู่นอกรั้วหรือกำแพงวัดหรืออยู่นอกวัด ซึ่งทางวัดอาจจะใช้เป็นที่จัดประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สร้างอาคารห้องแถวให้คนเช่า ถ้าที่ดินเป็นที่สวนหรือที่ไร่ที่นา ก็ให้คนเช่าทำสวนไร่ทำนาได้กฎหมายจึงใช้คำว่า ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด
ที่กัลปนา ไม่ใช่ที่ดินของวัด กรรมสิทธิ์ที่ดินยังเป็นของคนอื่นอยู่ แต่เจ้าของที่ดินนั้น มีจิตศรัทธา อุทิศยกผลประโยชน์อันเกิดจากที่ดินนั้นให้แก่วัดใดวัดหนึ่ง หรือแก่พระศาสนา เช่น นาย ก. มีที่นาอยู่ ๒๐ ไร่ให้คนเช่าทำนาปีละ ๒๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาท) นั้น ให้แก่วัดใดวัดหนึ่งหรือแก่พระศาสนา แต่ที่ดินนั้นยังเป็นกรรมสิทธิ์ของนาย ก. อยู่
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑

เจ้าสำนักแปลว่าอะไร

เจ้าสำนัก

[n.] head of the institute
[syn.] ผู้อำนวยการ,ผู้ดูแล
ตัวอย่างประโยคเขาเป็นเจ้าสำนักปี่พาทย์แห่งทุ่งหนองแขมผู้สืบสายเลือดนักดนตรีไทยมาจากปู่ย่าตายาย

เจ้าสำนัก

[n.] head of the institute
[syn.] ผู้อำนวยการ,ผู้ดูแล
ตัวอย่างประโยคเขาเป็นเจ้าสำนักปี่พาทย์แห่งทุ่งหนองแขมผู้สืบสายเลือดนักดนตรีไทยมาจากปู่ย่าตายาย
.............................................................
น. บุคคลผู้ควบคุมและจัดการโรงแรม
ผู้ควบคุมดูแลสถานที่หรือเคหสถาน.

เจ้าแม่กวนอิมบนสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(ที่พักสงฆ์)(ไม่ใช่วัด)
      ตั้งอยู่ที่หมู่ 5 ตำบลน้ำหนาว อำเภอน้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ เป็นสถานที่เปิด ใครๆก็ขึ้นไปกราบไหว้และปฎิบัติธรรมได้ ทัศนียภาพสงบเงียบ และสวยงามมาก โดยไม่ต้องเสียเงินใดๆทั้งสิ้น อยู่ในความดูแลของคณะกรรมการผู้สร้างสำนักฯซึ่งมีใบอนุญาตโดยถูกต้องตามกฎหมาย(ใบอนุญาตตัวจริงอยู่ที่คณะกรรมการผู้สร้างสำนัก) คณะกรรมการผู้สร้างฯไม่ได้พักอยู่บนสำนักฯเป็นประจำ ส่วนใหญ่อยู่กรุงเทพฯนานๆขึ้นไปที
       ที่นี่เป็นที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด จึงไม่ให้ใครก็ตามมาพักแรมนานเกินควร ถ้าท่านขึ้นไปปฎิบัติธรรมโดยไปเช้าเย็นกลับก็สามารถขึ้นไปได้ทันที แต่ถ้าท่านต้องการปฎิบัติธรรมค้างคืนเป็นหมู่คณะก็ให้ปรึกษาคณะกรรมการผู้สร้างก่อน เขาจะได้ดูแลท่านเป็นอย่างดีโดยไม่เสียเงินใดๆทั้งสิ้น ถ้าท่านติดต่อคณะกรรมการผู้สร้างไม่ได้ก็ให้ติดต่อผู้เขียนๆจะช่วยประสานงานให้(โทร.086-7928056)หรือ095-9970577) (ผู้เขียน)  เจ้าแม่กวนอิมที่นี่ศักดิ์สิทธิ์มากตามประสบการณ์ของผู้เขียนเองและคณะกรรมการผู้สร้างฯเป็นความเชื่อส่วนตัว (โปรดใช้วิจารณญาณในการรับชมและรับฟังข่าวสาร) ท่านเจ้าแม่กวนอิมจะเป็นผู้มาเข้าฝันคณะกรรมการผู้สร้างฯบางคนให้ออกแบบในการก่อสร้างตามที่ท่านบอกกล่าวในฝันทุกขั้นตอนจนสร้างเสร็จ เราไม่ต้องการให้ใครหลงเชื่อเพราะเราไม่ได้เรียกร้องเงินทองใดๆทั้งสิ้นแต่เป็นการเล่าความฝันให้ฟังท่านจะเชื่อหรือไม่เชื่อก็ได้  ถ้าท่านไปปฎิบัติธรรมมีคนเรียกร้องเงินทองจากท่านอย่าได้หลงเชื่อ แจ้งตำรวจจับได้ทันที ใครกราบไหว้ท่านและทำแต่ความดี จะได้ดีและเจริญก้าวหน้า ทุกคนส่วนใครที่คิดร้ายต่อท่านและคิดร้ายต่อคณะกรรมการผู้สร้างฯจะมีอันเป็นไปทุกคน เห็นมากับตา คณะกรรมการผู้สร้างฯมีฐานะดีทุกคน และมีจุดประสงค์พัฒนาพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง มั่นคง และต้องการสอนให้ทุกคนเป็นคนดี มีศีลธรรม โดยไม่หวังผลตอบแทนใดๆทั้งสิ้น ถ้ามีคนแอบอ้างว่ามีอำนาจมาไล่ท่าน โดยที่ท่านเป็นคนดีไม่ได้ทำผิดอะไร ให้แจ้งตำรวจได้ทันที และโทร.แจ้งให้คณะกรรมการผู้สร้างฯทราบ(มีคนแอบอ้างบ้างบางครั้ง)เปิดgoogleแล้วพิมพ์ประวัติสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่


ภ.บ.ท. 5 คืออะไร?
ภ.บ.ท.เป็นแบบแสดงรายการที่ดินที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่จะต้องไปยื่นแบบดังกล่าวเพื่อชำระภาษีบำรุงท้องที่ประจำปีต่อเจ้าพนักงานประเมิน ณ สำนักงานอันเป็นที่ตั้งขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่ที่ที่ดินตั้งอยู่ เช่น สำนักงานเขตในกรุงเทพมหานคร สำนักงานเทศบาล ที่ว่าการอำเภอ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ทั้งนี้ เป็นไปตามพระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ.2508
ภ.บ.ท. 5 จึงมิใช่เอกสารสิทธิในที่ดินที่ออกตามประมวลกฎหมายที่ดิน การซื้อขายจึงทำได้เพียงการส่งมอบการครอบครองที่ดินให้แก่กันเท่านั้น ไม่สามารถไปจดทะเบียน สิทธิและนิติกรรม ณ สำนักงานที่ดินท้องที่ได้ บุคคลที่มีชื่อใน ภ.บ.ท. 5 อาจจะไม่ใช่เจ้าของที่ดิน และที่ดินอาจจะเป็นที่หวงห้ามที่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิตาม ประมวลกฎหมายที่ดินก็อาจเป็นได้ การซื้อขายที่ดินที่มีเพียง ภ.บ.ท. 5 จึงเป็นการเสี่ยงภัยของผู้ซื้อเอง หากประสงค์จะซื้อที่ดินที่มีหลักฐาน ภ.บ.ท. 5 ควรให้ผู้ขายยื่นคำขอออกหนังสือ แสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อพิสูจน์สิทธิก่อนว่าสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่ หากสามารถออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินได้และขอออกเอกสารสิทธิ ในที่ดินตามหลักฐาน ภ.บ.ท. 5 เนื้อที่ที่คำนวณได้จากการรังวัดออกเอกสารสิทธิย่อมไม่ตรงกับเนื้อที่ที่ระบุไว้ในหลักฐาน ภ.บ.ท. 5 ได้เพราะถือว่าเป็นที่ดินที่ไม่มีหลักฐานสำหรับที่ดิน ไม่เคยมีการรังวัดคำนวณเนื้อที่โดยกรมที่ดินมาก่อนแต่อย่างใด อีกทั้งการรังวัดออกเอกสารสิทธิที่ดินจะใช้วิธีการรังวัดทำแผนที่และคำนวณเนื้อที่โดยใช้หลักวิชาการทางแผนที่ซึ่งจะมี มาตรฐานความละเอียดถูกต้อง การแจ้งเนื้อที่ตามหลักฐาน ภ.บ.ท.5 จึงเป็นการแจ้งของผู้ทำประโยชน์ในที่ดินโดยประมาณเพื่อชำระภาษีบำรุงท้องที่ประจำปีเท่านั้น

คำถาม-คำตอบที่ควรรู้
ถาม        1.อยากทราบว่า ภ.ท.บ. 5 นี้สามารถเปลี่ยนเป็น ส.ค.1 หรือ น.ส.3 ได้หรือไม่
               2. เปลี่ยนได้หรือไม่ได้เพราะอะไร ถ้าเปลี่ยนได้ควรทำอย่างไร?
ตอบ ภ.บ.ท. 5 เป็นแบบแสดงรายการที่ดินเพื่อเสียภาษีบำรุงท้องที่ ดังนั้น ที่ดินบริเวณดังกล่าวจึงเป็นที่ดินมือเปล่า ไม่มีเอกสารสิทธิใด ๆ และ จะสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่นั้น ต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อนว่าที่ดินดังกล่าวเป็นที่สงวนหวงห้ามมิให้ออกเอกสารสิทธิหรือไม่ อย่างไร?
ถาม อยากทราบเรื่องการทำสัญญาซื้อขายที่ดิน น.ส.3 กับซื้อที่ดินที่มีใบ ภ.บ.ท.5 การทำสัญญาซื้อขายต้องทำ 2 ฉบับ หรือรวมกันได้ แล้วมีแบบฟอร์มในการซื้อขาย ดังกล่าวหรือไม่?
ตอบ สัญญาซื้อขายที่ดิน เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ดังนั้น คุณต้องทำความตกลงกันเอง อย่างไรก็ตาม น.ส. 3 เป็นเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน แต่ ภ.บ.ท. 5 มิใช่เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน การซื้อขายจึงทำได้เพียงการส่งมอบการครอบครองที่ดินให้แก่กันเท่านั้น ไม่สามารถไปจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ณ สำนักงานที่ดินท้องที่ได้
ถาม ซื้อที่ดินเพื่อปลูกยางพารา แต่ที่ดินไม่มีเอกสารสิทธิ์อะไรเลย มีเพียงใบเสียภาษีดอกหญ้า แต่มีการทำสัญญาซื้อขายที่บ้านกำนันมีพยานหลายคน ที่แปลงนี้ขายต่อมาหลายทอดแล้ว จึงกังวลว่าภายในอนาคตมีจะมีปัญหาตามมา และสามารถฟ้องศาลได้หรือไม่ และเวลาที่ขายก็ไม่ได้มีการวัด เพียงแต่ตกลงกันด้วยวาจาเท่านั้น
ตอบ ที่ดินมีเพียงใบเสียภาษียอนหลัง เป็นเพียงแบบชำระภาษีบำรุงท้องที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ที่ดินอาจเป็นที่หวงห้าม ที่สาธารณะประโยชน์หรือที่ปีหรือเป็นที่ ที่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิ์ได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน การซื้อขายที่ดินที่มีเพียงแบบเสียภาษีบำรุงท้องที่จึงเป็นการเสียงของผู้ซื้อเองควรให้เจ้าของขอออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินก่อน
ถาม ภ.บ.ท. คืออะไร แล้วสามารถซื้อที่ดินที่มีใบ ภ.บ.ท.5 ได้หรือไม่?
ตอบ ภ.บ.ท.5 เป็นเพียงแบบแสดงรายการเพื่อชำระภาษีท้องที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน บุคคลที่มีชื่อใน ภ.บ.ท.5 อาจจะไม่ใช่เจ้าของที่ดินและที่ดินอาจจะเป็นที่หวงห้าม ที่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินก็อาจเป็นได้ การซื้อขายที่ดินที่มีเพียง ภ.บ.ท.5 จึงเป็นการเสี่ยงภัยของผู้ซื้อ หากท่านจะซื้อที่ดินที่มีหลักฐาน ภ.บ.ท.5 ให้ยื่นคำขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อพิสูจน์สิทธิก่อนว่าสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่ หากท่านต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการนำ ภ.บ.ท.5 ไปออกโฉนดที่ดิน ขอให้สอบถามที่สำนักงานที่ดินทุกแห่ง
ถาม ใบ ภ.บ.ท. 5 นำมาขอออกโฉนดที่ดินได้หรือไม่?
ตอบ ภ.บ.ท. 5 สามารถใช้เป็นเอกสารประกอบในการขอออกโฉนดที่ดินได้ หากที่ดินดังกล่าวมิได้เป็นที่สงวนหวงห้ามมิให้ออกโฉนดที่ดิน ภ.บ.ท.5 เป็นเพียงแบบแสดงรายการเพื่อชำระภาษีท้องที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน บุคคลที่มีชื่อใน ภ.บ.ท.5 อาจจะไม่ใช่เจ้าของที่ดินและที่ดินอาจจะเป็นที่หวงห้าม ที่ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินก็อาจเป็นได้ การซื้อขายที่ดินที่มีเพียง ภ.บ.ท.5 จึงเป็นการเสี่ยงภัยของผู้ซื้อ หากท่านจะซื้อที่ดินที่มีหลักฐาน ภ.บ.ท.5 ให้ยื่นคำขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อพิสูจน์สิทธิก่อนว่าสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่ หากท่านต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการนำ ภ.บ.ท.5 ไปออกโฉนดที่ดิน ขอให้สอบถามที่สำนักงานที่ดินทุกแห่ง

ภ.บ.ท. คืออะไร แล้วสามารถซื้อที่ดินที่มีใบ ภ.บ.ท.5 ได้หรือไม่?
ภ.บ.ท.5 เป็นเพียงแบบแสดงรายการเพื่อชำระภาษีท้องที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน บุคคลที่มีชื่อใน ภ.บ.ท.5 อาจจะไม่ใช่เจ้าของที่ดินและที่ดินอาจจะเป็นที่หวงห้าม ที่ไม่อยู่ใน
หลักเกณฑ์ที่จะออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินก็อาจเป็นได้ การซื้อขายที่ดินที่มีเพียง ภ.บ.ท.5 จึงเป็นการเสี่ยงภัยของผู้ซื้อ หากท่านจะซื้อที่ดินที่มีหลักฐาน ภ.บ.ท.5 ให้ยื่นคำขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อพิสูจน์สิทธิก่อนว่าสามารถออกเอกสารสิทธิได้หรือไม่ หากท่านต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการนำ ภ.บ.ท.5 ไปออกโฉนดที่ดิน ขอให้สอบถามที่สำนักงานที่ดินทุกแห่ง

ที่มา:  กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย(เครดิต)


อยากรู้ประวัติสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่(เป็นที่พักสงฆ์ไม่ใช่วัด)ให้เปิดgoogleแล้วพิมพ์คำว่า(นามปากกาภูไผ่)
http://diplomanews.blogspot.com/2012/05/          
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
ต้องการดูภาพของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่ให้เปิดgoogleแล้วพิมพ์คำว่า(นามปากกาภูไผ่)
หรือคลิกที่ภาษาอังกฤษด้านล่างนี้......

  
 (มีคลิปลงyoutube)

http://diplomanews.blogspot.com/2012/05/          (มีภาพนิ่ง)

ขอขอบคุณข้อมูลจาก สำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่สร้างโดยคุณวิทยา ลิขิตบรรณศักดิ์ร่วมกับคณะกรรมการผู้สร้างจากกรุงเทพฯหลายๆท่านเป็นผู้ริเริ่มสร้างตั้งแต่
พ.ศ.2546 (เครดิต)

โปรดคลิกที่ภาษาอังกฤษหรือรูปสามเหลี่ยมด้านบนนี้ เพื่อดูคลิปที่เคลื่อนไหวได้(ถ้ามี)บางข่าวอาจจะไม่มี

๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
นี่คือตัวอย่างข่าวบางส่วนบางหน้าเท่านั้นที่เราได้นำไปลงตีพิมพ์ในสื่อสิ่งพิมพ์ของเรามาแล้วครั้งหนึ่งตามวันที่ซึ่งระบุไว้คำว่า(ฉบับ วันที่.....)
สื่อสิ่งพิมพ์น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลางจะเคียงคู่ไปด้วยกันกับสื่อในเครือทุกๆสื่อ
 (เครดิต)ขอให้เครดิตชื่อด้านล่างนี้เท่านั้น(credit)

ดีโพลมาขอเสนอเรื่อง.......................................................................................

(เครดิต)ขอให้เครดิตชื่อด้านบนนี้เท่านั้น)(credit)  
(เครดิต)

(สำนักปฎิบัติภูไผ่ฯ(เป็นนามปากกาเริ่มใช้เมื่อพ.ศ.2555)รายงาน)ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลางและดีโพลมานิวส์เดินสายกลางถ่ายทอด                                                         

ข่าวของเราจะต้องมีคำว่าดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลางและดีโพลมานิวส์เดินสายกลางปรากฏอยู่เท่านั้น
ถ้าไม่มีแสดงว่าไม่ใช่ข่าวของเรา
คลิปอื่นไม่เกี่ยวกับเราๆไม่ขอนำเสนอ
*****************
ทีมงานน.ส.พ.)ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง)มีผู้บริหารดังนี้)
บ.ก.เกรียงไกร(พรเทพ)ไตรฯ(พี่เทพ) (บรรณาธิการและ)
หัวหน้ากองบรรณาธิการ)/อดีตห.น.ข่าวร้องทุกข์และ)
ห.น.ศูนย์วิทยุน.ส.พ.ดาวสยาม)/อดีตคอลัมนิสต์)น.ส.พ.เดลิมิเร่อร์)
ปัจจุบันผู้อำนวยการ)น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง)
และผู้อำนวยการน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลาง
Diplomanews Online/Saiglang Press Newspaper
Grianggrai Trai  (chern){ Director }
...( Chern)...威武)名前マイティ
เป็นประธานชมรมนักข่าวช่วยสังคม
และเป็นหัวหน้าสำนักงานขมรม)สื่อมวลชนและเพื่อนทนายความ)
รองฯ กรรณชัย)รองบรรณาธิการ(นามปากกาผู้กองแอ๊ด”)
สนม บุญจันทึก สื่อมวลชนประจำสื่อ(คมชัดลึก)และสื่อ(เนชั่น) เป็นที่ปรึกษาผู้อำนวยการ
วิลาสินี เจริญสุข(ที่ปรึกษา)-ที่ปรึกษาผู้อำนวยการ
ปฐมภพ หิรัญสัจจาเลิศ(ประธานที่ปรึกษาผ.อ.)(นามปากกา “คนสายกลาง”)
วิทยา ลิขิตบรรณศักดิ์/ที่ปรึกษาผู้อำนวยการน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง
และน.ส.พ.ดีโพลมานิวส์เดินสายกลาง
ต้องการดูภาพของสำนักปฎิบัติธรรมภูไผ่ให้เปิดgoogleแล้วพิมพ์คำว่า(นามปากกาภูไผ่)
หรือคลิกที่ภาษาอังกฤษด้านล่างนี้......
https://diplomanews.blogspot.com/2018/10/2_20.html     (มีคลิปลงyoutube)

http://diplomanews.blogspot.com/2012/05/          (มีภาพนิ่ง)
 (คลิกที่ภาษาอังกฤษเพื่อดูภาพเคลื่อนไหวได้)
สมชัย นามปากกา ราชพฤกษ์/ที่ปรึกษา ผู้อำนวยการ
จตุพล(นามปากกาอัพเดท)/สุพรรณษา แซ่อั๊ง)นามปากกา"ผักบุ้ง)
บุญรุ่ง  พวงทอง(ที่ปรึกษาผ.อ.)/นามปากกา(คนเดลิมิเร่อร์)
วิลาสินี เจริญสุข(ที่ปรึกษา)-/ที่ปรึกษาผู้อำนวยการ
ธนกฤต  ร่ำรวยถาวร (ผู้ช่วยบรรณาธิการ)
นามปากกา(ภูไผ่)(ที่ปรึกษาผู้อำนวยการ)
นามปากกาสำนักปฎิบัติภูไผ่(ที่ปรึกษาผู้อำนวยการ)
มานะ  ดวลโคกสูง(ที่ปรึกษากฎหมาย)
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
ชมรมสื่อมวลชนและเพื่อนทนายความ)....ที่ปรึกษากฎหมาย)เรามีทนายความช่วยเหลือคนจน)
ยินดีต้อนรับทนายความที่มีคุณธรรมทุกท่านมาเป็นเพื่อนและเป็นที่ปรึกษาของชมรมสื่อมวลชนและเพื่อนทนายความ ครับ เรามีประชาชนที่มาขอความช่วยเหลือในด้านกฎหมายเป็นประจำ
099-2612588(มีไลน์)รวมสื่อต่างๆแล้วเรามี)ผู้อ่านข่าวร่วมหลายแสนคน)
dpm2554@gmail.com)(เรามีพันธมิตรสื่อจำนวนมาก)
Apinunsanggaew(ที่ปรึกษาผ.อ.)นามปากกาคนพิเศษ”)
ผู้ควบคุมคอลัมน์apinunpress.tumblr.com
โฆษณาเราไม่ได้นำมาลงเอง เราไม่มีโฆษณา
ทุกๆตำแหน่งและทุกๆกิจกรรมของเราไม่หวังผลกำไรใดๆทั้งสิ้นฟรีทุกอย่าง      
คลิปอื่นที่ไม่มีชื่อ(ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง)เราไม่เกี่ยวและไม่ขอนำเสนอ
เรามีหลายแว้บไซ้ท์ให้เปิด google แล้วพิมพ์(น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ข่าวสายกลาง)
ยินดีสนับสนุนข่าวที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมทุกเรื่อง
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น