เมื่อครบ10ปีจะบังคับคดีได้หรือไม่(ดีโพลมา2318)
10 สิงหาคม 2557 - 19:12:00
เมื่อครบ10ปีจะบังคับคดีได้หรือไม่(ดีโพลมา2318)
เรื่อง การบังคับคดี โดยทั่วไปเข้าใจกันว่าหากครบกำหนดเวลา 10 ปีแล้ว เจ้าหนี้ตาม คำพิพากษาจะหมดสิทธิในการบังคับคดี แต่ความจริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ เมื่อ เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาได้ปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย เรื่องการบังคับคดีก่อน ครบ 10 ปีนับแต่วันมีคำพิพากษา แล้วต่อมาจะมีการยึดทรัพย์สินของจำเลย ซึ่ง เป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาเกิน 10 ปีแล้ว ก็ยังยึดทรัพย์สินได้ตลอดไปไม่มี ระยะเวลาแล้ว เพราะถือว่าเจ้าหนี้ได้ร้องขอให้บังคับคดีกับทรัพย์สินของ ลูกหนี้ตามคำพิพากษาภายในระยะเวลา 10 ปีนับแต่วันมีคำพิพากษา
ขั้นตอนการบังคับคดีตั้งแต่ศาลได้มีคำพิพากษาแล้วมีดังนี้
1) การบังคับคดี เป็นกระบวนการหลังจากที่ศาลได้มีคำพิพากษาให้ จำเลยชำระหนี้แก่โจทก์แล้ว เมื่อจะมีการบังคับคดี โดยอาศัยเจ้าพนักงาน บังคับคดีที่ศาลตั้งให้นั้นจะต้องมีการออกหมายบังคับคดี ซึ่งเรียกว่า หมาย ตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดี ทำให้เจ้าพนักงานบังคับคดีเกิดอำนาจขึ้นในการที่ จะยึดหรืออายัดทรัพย์สินของจำเลยได้
การบังคับคดีนั้นเป็นได้ทั้งเรื่องของหนี้และไม่ใช่ของ หนี้ จึงต้องบังคับให้เป็นไปตามสภาพ ซึ่งเปิดช่องให้บังคับ เปิดช่องให้ บังคับอย่างไรก็ต้องบังคับอย่างนั้น เช่น กรณีหนี้เงิน ก็บังคับเอากับ ทรัพย์สินของจำเลย เพื่อนำมาขายทอดตลาด โดยเจ้าพนักงานบังคับคดีนำเงินมา ชำระหนี้เงินนั้น เป็นการบังคับให้เป็นไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล
2) ผู้มีอำนาจบังคับคดีได้คือ เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา เมื่อ ลูกหนี้ตามคำพิพากษามิได้ปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลไม่ว่าจะทั้ง หมดหรือบางส่วน เจ้าหนี้จึงชอบที่จะร้องขอให้บังคับคดีได้ ตาม ป .วิ.แพ่ง มาตรา 271 “ถ้าคู่ความหรือบุคคลที่เป็นฝ่ายแพ้คดี (ลูกหนี้ตามคำ พิพากษา) มิได้ปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลทั้งหมดหรือบางส่วน คู่ ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายชนะ (เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา) ชอบที่จะร้องขอให้ บังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นได้ภายในสิบปีนับแต่วันมีคำพิพากษาหรือ คำสั่ง โดยอาศัยและตามคำบังคับที่ออกตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้น”
จะเห็นว่า มาตรา 271 ที่ว่าคู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายที่ ชนะคดีหรือเจ้าหนี้ตามคำพิพากษากับคู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้ คดี กฎหมายไม่ได้ระบุเจาะจงลงไปว่าเป็นโจทก์หรือจำเลย ซึ่งเป็นคู่ความเดิม เท่านั้น ในการที่จะวินิจฉัยว่าใครเป็นบุคคลผู้ชนะคดีหรือที่แพ้คดีต้อง พิจารณาดูคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นๆ เป็นสำคัญว่าใครจะเป็นผู้มีสิทธิบังคับ คดีหรือเป็นผู้ต้องถูกบังคับคดี เมื่อไม่ปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง นั้นๆ
3) สิทธิในการบังคับคดีหรือถูกบังคับคดีเป็นมรดกตกทอดแก่ ทายาท ถ้าการบังคับคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน สิทธิในการบังคับคดีหรือหน้าที่จะ ต้องปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลของคู่ความ ย่อมเป็นมรดกตกทอดไปยัง ทายาทของคู่ความฝ่ายนั้น ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1599 และ 1600 ด้วย
การใช้สิทธิในการบังคับคดี ไม่ใช่การใช้สิทธิเรียกร้องในทาง แพ่ง ดังนั้นเจ้าหนี้ของคู่ความที่ชนะคดีจะใช้สิทธิของคู่ความ ฝ่ายที่ชนะ คดีบังคับแก่คู่ความฝ่ายที่แพ้คดี โดยอาศัย ป.พ.พ. มาตรา 233 ไม่ได้ เพราะ การใช้สิทธิบังคับคดีไม่ใช่การใช้สิทธิเรียกร้องในทางแพ่ง จึงไม่อาจที่จะ ใช้สิทธิบังคับคดีแก่ผู้แพ้คดี ซึ่งเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาแทนเจ้าหนี้ตาม คำพิพากษาผู้ชนะคดีได้
4) ถ้าบุคคลซึ่งแพ้คดีหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาไม่ปฏิบัติตามคำ พิพากษา หรือคำสั่งของศาล บุคคลผู้ชนะคดีหรือเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาชอบที่จะ ร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งได้ภายใน 10 ปีนับแต่วันมีคำ พิพากษาหรือคำสั่ง ตามมาตรา 271 ระยะเวลาบังคับคดีภายใน 10 ปี ดังกล่าวมิ ใช่อายุความ เป็นระยะเวลาที่กฎหมายบังคับให้ผู้ชนะคดีบังคับคดีของตนภายใน กำหนดระยะเวลา มิฉะนั้นก็หมดสิทธิที่จะบังคับคดีต่อไป ระยะเวลาที่กำหนดนี้ จึงไม่ใช่อายุความ ซึ่งกำหนดไว้สำหรับการใช้สิทธิเรียกร้องเป็นเรื่องของ ระยะเวลาบังคับคดี ดังนั้น เรื่องระยะเวลาบังคับคดีนี้จึงไม่ใช่อายุความ
5) การร้องขอให้บังคับคดีตามมาตรา 271 เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาจะ ต้องร้องขอให้บังคับคดีแก่ลูกหนี้ตามคำพิพากษาภายในกำหนด 10 ปีนับแต่วันมี คำพิพากษาและในการร้องขอให้บังคับคดี เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาจะต้องขอให้ศาล ชั้นต้นออกหมายบังคับคดีก่อน จากนั้นต้องแถลงต่อเจ้าพนักงานบังคับคดี ขอให้ ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษา เพื่อให้การบังคับคดีดำเนิน การต่อไป
การบังคับคดีภายใน 10 ปี เริ่มต้นเมื่อร้องขอให้บังคับ คดี เมื่อผู้ชนะคดีร้องขอให้บังคับคดีและนำยื่นต่อศาลภายในระยะ เวลา 10 ปี ดังกล่าวแล้ว ศาลจะออกหมายบังคับคดีหรือบังคับด้วยวิธีอื่นใดตาม สภาพแห่งการบังคับจะเปิดช่องให้ทำได้และถือว่าการบังคับคดีเริ่มต้นนับแต่ วันที่ยื่นคำขอ หากยื่นเลยระยะเวลา 10 ปีนับแต่วันมีคำพิพากษาผู้ชนะคดีก็ หมดสิทธิบังคับคดี ส่วนวิธีการบังคับคดีต่อจากนั้นไป แม้นจะเลย เวลา 10 ปี หรือเสร็จภายหลังนั้น ก็ยังถือว่าบังคับคดีภายในระยะ เวลา 10 ปี มีคำพิพากษาวางหลักไว้คือ
คำพิพากษาศาลฎีกา 4816/2528 การร้องขอให้บังคับตามคำพิพากษา ต้องดำเนินการตามขั้นตอน ขั้นแรกเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาต้องขอให้ศาลออกหมาย บังคับคดี ขั้นตอนต่อไปต้องให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบว่าศาลได้ออกหมาย บังคับคดีแล้ว และจากนั้นต้องแถลงต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีขอให้ยึดทรัพย์สิน ของลูกหนี้ตามคำพิพากษา เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาได้ปฏิบัติ หน้าที่ของตนครบถ้วนแล้วภายใน 10 ปีนับแต่วันมีคำพิพากษา ส่วนการที่เจ้า พนักงานบังคับคดีจะไปยึดทรัพย์เมื่อใดนั้น เป็นขั้นตอนการดำเนินงานของเจ้า พนักงานบังคับคดี แม้นเจ้าพนักงานบังคับคดีจะไปยึดทรัพย์จำเลย เกิน 10 ปี ก็ถือได้ว่าโจทก์ได้ร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาภายใน 10 ปี แล้ว ดังนั้นเมื่อแพ้คดีมา 10 ปี แล้วเจ้าหนี้ยังยึดทรัพย์ได้ด้วยเหตุดัง กล่าว - See more at: http://www.lawsiam.com/?name=article&file=read&max=738#sthash.uDsFER7U.dpuf
ขั้นตอนการบังคับคดีตั้งแต่ศาลได้มีคำพิพากษาแล้วมีดังนี้
1) การบังคับคดี เป็นกระบวนการหลังจากที่ศาลได้มีคำพิพากษาให้ จำเลยชำระหนี้แก่โจทก์แล้ว เมื่อจะมีการบังคับคดี โดยอาศัยเจ้าพนักงาน บังคับคดีที่ศาลตั้งให้นั้นจะต้องมีการออกหมายบังคับคดี ซึ่งเรียกว่า หมาย ตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดี ทำให้เจ้าพนักงานบังคับคดีเกิดอำนาจขึ้นในการที่ จะยึดหรืออายัดทรัพย์สินของจำเลยได้
การบังคับคดีนั้นเป็นได้ทั้งเรื่องของหนี้และไม่ใช่ของ หนี้ จึงต้องบังคับให้เป็นไปตามสภาพ ซึ่งเปิดช่องให้บังคับ เปิดช่องให้ บังคับอย่างไรก็ต้องบังคับอย่างนั้น เช่น กรณีหนี้เงิน ก็บังคับเอากับ ทรัพย์สินของจำเลย เพื่อนำมาขายทอดตลาด โดยเจ้าพนักงานบังคับคดีนำเงินมา ชำระหนี้เงินนั้น เป็นการบังคับให้เป็นไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล
2) ผู้มีอำนาจบังคับคดีได้คือ เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา เมื่อ ลูกหนี้ตามคำพิพากษามิได้ปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลไม่ว่าจะทั้ง หมดหรือบางส่วน เจ้าหนี้จึงชอบที่จะร้องขอให้บังคับคดีได้ ตาม ป .วิ.แพ่ง มาตรา 271 “ถ้าคู่ความหรือบุคคลที่เป็นฝ่ายแพ้คดี (ลูกหนี้ตามคำ พิพากษา) มิได้ปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลทั้งหมดหรือบางส่วน คู่ ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายชนะ (เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา) ชอบที่จะร้องขอให้ บังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นได้ภายในสิบปีนับแต่วันมีคำพิพากษาหรือ คำสั่ง โดยอาศัยและตามคำบังคับที่ออกตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้น”
จะเห็นว่า มาตรา 271 ที่ว่าคู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายที่ ชนะคดีหรือเจ้าหนี้ตามคำพิพากษากับคู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้ คดี กฎหมายไม่ได้ระบุเจาะจงลงไปว่าเป็นโจทก์หรือจำเลย ซึ่งเป็นคู่ความเดิม เท่านั้น ในการที่จะวินิจฉัยว่าใครเป็นบุคคลผู้ชนะคดีหรือที่แพ้คดีต้อง พิจารณาดูคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นๆ เป็นสำคัญว่าใครจะเป็นผู้มีสิทธิบังคับ คดีหรือเป็นผู้ต้องถูกบังคับคดี เมื่อไม่ปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง นั้นๆ
3) สิทธิในการบังคับคดีหรือถูกบังคับคดีเป็นมรดกตกทอดแก่ ทายาท ถ้าการบังคับคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน สิทธิในการบังคับคดีหรือหน้าที่จะ ต้องปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลของคู่ความ ย่อมเป็นมรดกตกทอดไปยัง ทายาทของคู่ความฝ่ายนั้น ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1599 และ 1600 ด้วย
การใช้สิทธิในการบังคับคดี ไม่ใช่การใช้สิทธิเรียกร้องในทาง แพ่ง ดังนั้นเจ้าหนี้ของคู่ความที่ชนะคดีจะใช้สิทธิของคู่ความ ฝ่ายที่ชนะ คดีบังคับแก่คู่ความฝ่ายที่แพ้คดี โดยอาศัย ป.พ.พ. มาตรา 233 ไม่ได้ เพราะ การใช้สิทธิบังคับคดีไม่ใช่การใช้สิทธิเรียกร้องในทางแพ่ง จึงไม่อาจที่จะ ใช้สิทธิบังคับคดีแก่ผู้แพ้คดี ซึ่งเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษาแทนเจ้าหนี้ตาม คำพิพากษาผู้ชนะคดีได้
4) ถ้าบุคคลซึ่งแพ้คดีหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาไม่ปฏิบัติตามคำ พิพากษา หรือคำสั่งของศาล บุคคลผู้ชนะคดีหรือเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาชอบที่จะ ร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งได้ภายใน 10 ปีนับแต่วันมีคำ พิพากษาหรือคำสั่ง ตามมาตรา 271 ระยะเวลาบังคับคดีภายใน 10 ปี ดังกล่าวมิ ใช่อายุความ เป็นระยะเวลาที่กฎหมายบังคับให้ผู้ชนะคดีบังคับคดีของตนภายใน กำหนดระยะเวลา มิฉะนั้นก็หมดสิทธิที่จะบังคับคดีต่อไป ระยะเวลาที่กำหนดนี้ จึงไม่ใช่อายุความ ซึ่งกำหนดไว้สำหรับการใช้สิทธิเรียกร้องเป็นเรื่องของ ระยะเวลาบังคับคดี ดังนั้น เรื่องระยะเวลาบังคับคดีนี้จึงไม่ใช่อายุความ
5) การร้องขอให้บังคับคดีตามมาตรา 271 เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาจะ ต้องร้องขอให้บังคับคดีแก่ลูกหนี้ตามคำพิพากษาภายในกำหนด 10 ปีนับแต่วันมี คำพิพากษาและในการร้องขอให้บังคับคดี เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาจะต้องขอให้ศาล ชั้นต้นออกหมายบังคับคดีก่อน จากนั้นต้องแถลงต่อเจ้าพนักงานบังคับคดี ขอให้ ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษา เพื่อให้การบังคับคดีดำเนิน การต่อไป
การบังคับคดีภายใน 10 ปี เริ่มต้นเมื่อร้องขอให้บังคับ คดี เมื่อผู้ชนะคดีร้องขอให้บังคับคดีและนำยื่นต่อศาลภายในระยะ เวลา 10 ปี ดังกล่าวแล้ว ศาลจะออกหมายบังคับคดีหรือบังคับด้วยวิธีอื่นใดตาม สภาพแห่งการบังคับจะเปิดช่องให้ทำได้และถือว่าการบังคับคดีเริ่มต้นนับแต่ วันที่ยื่นคำขอ หากยื่นเลยระยะเวลา 10 ปีนับแต่วันมีคำพิพากษาผู้ชนะคดีก็ หมดสิทธิบังคับคดี ส่วนวิธีการบังคับคดีต่อจากนั้นไป แม้นจะเลย เวลา 10 ปี หรือเสร็จภายหลังนั้น ก็ยังถือว่าบังคับคดีภายในระยะ เวลา 10 ปี มีคำพิพากษาวางหลักไว้คือ
คำพิพากษาศาลฎีกา 4816/2528 การร้องขอให้บังคับตามคำพิพากษา ต้องดำเนินการตามขั้นตอน ขั้นแรกเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาต้องขอให้ศาลออกหมาย บังคับคดี ขั้นตอนต่อไปต้องให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบว่าศาลได้ออกหมาย บังคับคดีแล้ว และจากนั้นต้องแถลงต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีขอให้ยึดทรัพย์สิน ของลูกหนี้ตามคำพิพากษา เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาได้ปฏิบัติ หน้าที่ของตนครบถ้วนแล้วภายใน 10 ปีนับแต่วันมีคำพิพากษา ส่วนการที่เจ้า พนักงานบังคับคดีจะไปยึดทรัพย์เมื่อใดนั้น เป็นขั้นตอนการดำเนินงานของเจ้า พนักงานบังคับคดี แม้นเจ้าพนักงานบังคับคดีจะไปยึดทรัพย์จำเลย เกิน 10 ปี ก็ถือได้ว่าโจทก์ได้ร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาภายใน 10 ปี แล้ว ดังนั้นเมื่อแพ้คดีมา 10 ปี แล้วเจ้าหนี้ยังยึดทรัพย์ได้ด้วยเหตุดัง กล่าว - See more at: http://www.lawsiam.com/?name=article&file=read&max=738#sthash.uDsFER7U.dpuf
ขอขอบคุณที่มาของข่าว/ภาพจากผู้ที่มีชื่ออยู่ด้านล่างนี้ทุกๆท่าน
http://www.lawsiam.com/?name=article&file=read&max=738
ถ่ายทอดโดย.....
ทีมงาน น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ (ดีโพลมา2318) มีรายนามดังนี้....
บ.ก.เกรียงไกร พรเทพ ( บรรณาธิการ )
ผช.กรรณชัย(นามปากกา “ผู้กองแอ๊ด”) ผู้ช่วยบ.ก.ดูแลข่าวตำรวจ
และ รักษาการ หัวหน้าข่าวการเมือง
อภินันทร์(นามปากกา “อัจฉริยะ”)ปฐมภพ(นามว่า "คนสายกลาง")
จตุพล (นามปากกา “อัพเดท”) สุจิตรา (นามปากกา “หญิงเหล็ก”)
ชมรมสื่อมวลชนและเพื่อนทนายความ (ฝ่ายกฎหมาย)
(รับปรึกษาปัญหากฎหมายฟรีโทร.095 – 9970577)
ข่าวนี้จะนำไปลงสื่อฯต่างๆในเครืออีกครั้งหนึ่งดังมีรายนามต่อไปนี้
น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์ และ dpmnews - dmnnews - diplomanews
และข่าวชมรมนักข่าว2000, และ ข่าวศูนย์วิทยุ (ทาง)ช้างเผือก และ
ข่าวชมรมนักข่าวช่วยสังคม..อีเมล์...diplomanews@gmail.com
ติดตามผลงาน“ชมรมนั่งสมาธิปกป้องสถาบันได้ใน FACEBOOK
เรามีแว๊บไซ้ท์ในเครือนับสิบๆแว๊บไซ้ท์และพันธมิตรสื่อฯอีกนับร้อย
เรายังมีคอลัมน์ในสื่อดังๆต่างๆอีกเป็นจำนวนมาก โดยพิมพ์หาคำว่า
“น.ส.พ.ดีโพลมานิวส์” หรือคำว่า “diplomanews”ในสื่อนั้นๆ
รวมสื่อต่างๆแล้วเรามีผู้อ่านข่าวของเราร่วมหลายแสนคน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น